กิจกรรมที่ 13
“The Healthy Classroom” : ห้องเรียนที่ให้ความสำคัญกับเรื่องสุขภาพกายและสุขภาพจิตของนักเรียน
1) ในปัจจุบัน เด็กไทย(รวมถึงผู้ใหญ่ไทย) มีสุขนิสัยที่ดี ในเรื่องพฤติกรรมการบริโภค พฤติกรรมสุขภาพ ที่เหมาะสมหรือไม่ เพียงใด
ไม่เหมาะสมเท่าที่ควร คือในยุกต์ปัจจุบันนี้มีความสะดวกสะบายมากในเรื่องของการบริโภคต่างๆมักจะไม่ค่อยคิดอะไรมากรวมถึงเรื่องประโยชน์ของสิ่งที่บริโภคนั้นซึ่งอาจมีโทษมากกว่าประโยชน์อีกด้วนซ้ำส่วนในพฤติกรรมสุขภาพเด็กในปัจจุบันไม่ค่อยใส่ใจกันมีเด็กจำนวนมากที่เป็นเด็กหน้าจอคอมพิวเตอร์เป็นเด็กติดเกมส์หรือมีเยาวชนหรือผู้ใหญ่บางกลุ่มที่ไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดเป็นเรื่องที่สังคมพยายามอย่างมากที่จะหาทางแก้ไขในฐานะครูในอนาคตผมคิดว่าผมจะต้องเปลี่ยนแนวคิดของเด็กในอนาคตให้เห็นให้รู้และเข้าใจสิ่งที่ควรปฏิบัติเกี่ยวกับการบริโภคและการดูแลรักษาสุขภาพ
2) ในปัจจุบันเด็กไทย(รวมถึงผู้ใหญ่ไทย) มีกีฬาประจำตัว มีปฏิทินการออกกำลังกาย และได้ออกกำลังกายตามปฏิทินอย่างจริงจัง มากน้อยเพียงใด(ทุกครั้งที่ไปโรงพยาบาล แพทย์ไทย มักจะถาม คำถามว่า “มีโรคประจำตัวอะไรบ้าง” แต่ไม่เคยถามว่า “หนู มีกีฬาประจำตัวหรือไม่ มีปฏิทินออก กำลังกายไหม)
จะถามว่าเด็กและผู้ใหญ่ไทย มี กีฬาประจำตัว มีปฏิทินการออกกำลังกาย และได้ออกกำลังกายตามปฏิทินอย่างจริงจัง คิดว่าจะมีสักกี่คนสักกี่ครอบครัวที่ทำแบบนี้ได้บ้างคงจะมีน้อยมากในสังคมไทยอาจจะมีก็เช่นผู้ป่วยที่ต้องออกกำลังกายขยับกล้ามเนื้ออยู่ทุกวันเป็นประจำเพื่อรักษาอาการป่วย ในประเด็นนี้ฟังดูน่าสนใจมากเด็กไทยควรที่จะได้ฝึกและปฏิบัติอย่างเป็นนิสัยภายใต้การนำของครูพันธ์ใหม่ในอนาคต
3) เด็กไทยมีความสามารถในการบริหารสุขภาพจิต การควบคุมอารมณ์ หรือการพัฒนาบุคลิกภาพหรือไม่ เพียงใด(ดูได้จากบรรยากาศการแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ ในทันทีที่มีการประกาศผลการแข่งขัน จะมี 1 ทีมที่ร้องให้ ควบคุมอารมณ์ไม่ได้)
การควบคุมอารมณ์หรือการพัฒนาบุคลิกภาพนั้นขึ้นอยู่กับแต่ละวัยของเด็กด้วยการที่จะปิดกั้นความรู้สึกนั้นไม่ใช่เรื่องที่ดีนักอย่างเช่น การแข่งขันที่มีทีมหนึ่งชนะและทีมหนึ่งแพ้ผู้แพ้ย่อมเสียใจเป็นธรรมดาการจะแสดงอาการเสียใจเช่นร้องให้เป็นเรื่องที่ไม่ใช่เรื่องที่ผิดมากนักเพียงแต่ว่าควรมีขอบเขตของการเสียใจด้วยไม่ฟุ้งซ่านโวยวายก็ถือว่าไม่มีอะไรเสีย หายหากวันหนึ่งเป็นได้เป็นครูสอนเด็กก็จะสอนให้เด็กมีความเข้าใจว่าการแสดงออกถึงความเสียใจนั้นเช่นการร้องให้ไม่ใช่เรื่องที่ผิดและไม่ควรปิดกั้นอารมณ์นั้นแสดงออกมาตามที่รู้สึกถือเป็นเรื่องที่ดีที่สุดแล้ว
4) ขณะนี้โรงเรียนได้ให้ความสำคัญในเรื่องสุขภาพกายและสุขภาพจิตของเด็ก พอ ๆ กับ การส่งเสริมด้านวิชาการหรือไม่ โดยเฉพาะในโรงเรียนที่ได้รับค่านิยมสูง(มีชื่อเสียง)
การให้ความสำคัญเรื่องสุขภาพกายและสุขภาพจิตของเด็กนั้นยังน้อยกว่า การส่งเสริมวิชาการโดยเฉพาะโรงเรียนที่มีชื่อเสียงมุ่งให้นักเรียนมีความรู้ความสามารถจนบางทีลืมคิดไปว่าการสงเสริมเรื่องสุขภาพกายและสุขภาพจิตของนักเรียนนั้นอาจจะยังน้อยไปหรือปล่าว หากถามว่าครูในอนาคตจะมีวิธีการแก้ไขอย่างไรผมคิดว่าควรส่งเสริมไปพร้อมๆกันไม่มีการสอนที่เคร่งเครียดมีกิจกรรมต่างๆที่จะทำให้เด็กมีความสุขสนุกและอยากเรียนอีก
5) เมื่อเปิดภาคเรียน ภายใน 2 สัปดาห์แรก ครูประจำชั้นได้ทำความรู้จักกับนักเรียนมากน้อยเพียงใด มีการจำแนกเด็กนักเรียนเป็นกลุ่มเสี่ยง-กลุ่มปกติหรือไม่ (กลุ่มเสี่ยงหมายถึง ผลการเรียนอ่อน สุขภาพไม่ดี มีปัญหาทางครอบครัว รวมถึงมีผลการเรียนดีมาก เกรดเฉลี่ย 4.00 มาโดยตลอด ซึ่งจะเสี่ยงในเรื่องความเครียด)
ในประเด็นนี้คิดว่าการที่ครูจะทำความรู้จักกับนักเรียนควรทำความรู้จักกันไปเรื่อยๆเวลาแค่ 2 สัปดาห์จะแยกคนที่มีความเสี่ยงออกมาได้ทั้งหมดนั้นคงไม่ได้ ส่วนคนที่ครูรู้และทราบประวัติเบื้องต้นถึงเด็กที่มีปัญหาแน่นอนว่าครูย่อมที่จะหาทางช่วยเหลือ หากตัวข้าพเจ้าเองได้เป็นครูจะมีแนวทางช่วยเหลือคือ คนที่มีผลการเรียนอ่อนจะจัดให้อยู่กับกลุ่มคนที่ได้ผลการเรียนดีๆ คนที่สุขภาพไม่ดีครอบครัวมีปัญหาก็จะช่วยอย่างเช่นเสนอชื่อขอรับทุนการศึกษาในโอกาสต่างๆพร้อมให้คำปรึกษาที่จะหาทางแก้ไขต่อไป ส่วนคนที่ได้ผลการเรียนดีนั้นหากจะลดความเสี่ยงเรื่องความเครียดนั้นคิดว่าควรที่จะให้ทำกิจกรรมกับเพื่อนมากๆให้คอยเป็นหูเป็นตาให้กับครูและช่วยเหลือเพื่อนอยู่เสมอ และคอยสั่งสอนว่าวันหนึ่งผลการเรียนอาจตกลงมาได้เป็นเรื่องที่ควรยอมรับไม่ต้องคิดมากทำชีวิตให้สนุกไว้ดีกว่า
6) ครูประจำชั้น หรือโรงเรียนได้จัดระบบดูแล-ช่วยเหลือเด็กกลุ่มเสี่ยงอย่างไรบ้าง เพื่อลดความเสี่ยงในชีวิต(สมัยที่ผมเป็นครูประจำชั้น ผมจะประกาศรายชื่อ “ผู้ช่วยอาจารย์ประจำชั้น” โดยเลือกจากนักเรียนกลุ่มเสี่ยง เพื่อให้นักเรียนเหล่านี้มีโอกาสทางานใกล้ชิดกับครู มีการประชุมร่วมกันสัปดาห์ละ 1 ครั้ง)
เป็นเรื่องที่จำเป็นสำหรับการดูแลช่วยเหลือเด็กและวิธีการให้เด็กนักเรียนมาช่วยงานก็เป็นวิธีที่ดีมากที่จะให้เด็กได้ใกล้ชิดกับครูหากตัวข้าพเจ้าเป็นครูก็จะนำวิธีนี้ไปปรับใช้เช่นกัน
7) โรงเรียนมีการพัฒนารายวิชา(วิชาเลือก/วิชาเพิ่มเติม) ที่เกี่ยวข้องกับ การควบคุมอารมณ์ การพัฒนาบุคลิกภาพ การบริหารจัดการกับปัญหาสุขภาพจิต ฯลฯ หรือไม่(หลักสูตรประเทศสิงค์โปร์ เด็กอนุบาล ต้องเรียนวิชา “การควบคุมอารมณ์”)
เท่าที่เห็นไม่มีความจริงจังมากนัก หากข้าพเจ้าเป็นครูจะมีรูปแบบการเรียนการสอนที่ให้นักเรียนได้ฝึกพัฒนาเช่น การให้ฝึกสมาธิก่อนการเรียนการสอน การเข้าค่ายจริยธรรม และอื่นๆ
8) โรงเรียนมีการประเมินมาตรฐานด้าน สุขภาพกาย และสุขภาพจิต เป็นระยะ ๆ อย่างจริงจังมากน้อยเพียงใด
เท่าที่เห็นที่ทราบมาการประเมินด้านสุขภาพกายและจิตใจมีความจริงจังอยู่ระดับมากพอสมควรโรงเรียนก็พยายามหาวิธีการต่างมาใช้ เช่นการออกกำลังกายตอนเช้าที่หน้าเสาธงเป็นประจำทุกวันเป็นการช่วยให้เด็กมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีตั้งแต่เช้า
9) โรงเรียนมีแบบประเมิน/แบบสังเกตภาวะสุขภาพกาย สุขภาพจิตของนักเรียน เพื่อครูประจาชั้น และ พ่อแม่ใช้ในการสังเกต-ประเมินนักเรียนในความรับผิดชอบ หรือบุตรหลานของตนเอง หรือไม่ ฯลฯ
เท่าที่เห็นยอมรับว่าไม่มีการประเมินที่เป็นแบบมาตรฐานมากนัก มีแค่ครูที่สังเกตุอยู่เช่นการให้ บอกสภาพบรรยากาศของห้องเรียนของโรงเรียนและชุมชนที่อยู่อาศัยของเด็กว่ามีสภาพอย่างไรตามความรู้สึกของเด็กหากพบว่าเด็กมีความคิดเห็นอย่างเช่นว่า ห้องเรียนไม่ค่อยน่าอยู่ก็จะช่วยกันตกแต่งใหม่ให้ดูมีบรรยากาศที่น่าเรียนยิ่งขึ้นและปลูกจิตสำนึกในการดูแลชุมชนด้วยอีกทางหนึ่ง
สรุป จากประเด็นข้างบนนี้ในเรื่องของการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตนักเรียน
การส่งเสริมเรื่องสุขภาพกาย และสุขภาพจิตของนักเรียนนั้นถือเป็นเรื่องที่สำคัญและมีความจำเป็นอย่างมากต่อการพัฒนาเด็กวันหนึ่งหากเราจบไปเป็นครูก็คิดว่าจะหาแนวทางและเทคนิคต่างๆที่มุงพัฒนาเด็กมาปรับใช้อย่างเต็มที่
1) ในปัจจุบัน เด็กไทย(รวมถึงผู้ใหญ่ไทย) มีสุขนิสัยที่ดี ในเรื่องพฤติกรรมการบริโภค พฤติกรรมสุขภาพ ที่เหมาะสมหรือไม่ เพียงใด
ไม่เหมาะสมเท่าที่ควร คือในยุกต์ปัจจุบันนี้มีความสะดวกสะบายมากในเรื่องของการบริโภคต่างๆมักจะไม่ค่อยคิดอะไรมากรวมถึงเรื่องประโยชน์ของสิ่งที่บริโภคนั้นซึ่งอาจมีโทษมากกว่าประโยชน์อีกด้วนซ้ำส่วนในพฤติกรรมสุขภาพเด็กในปัจจุบันไม่ค่อยใส่ใจกันมีเด็กจำนวนมากที่เป็นเด็กหน้าจอคอมพิวเตอร์เป็นเด็กติดเกมส์หรือมีเยาวชนหรือผู้ใหญ่บางกลุ่มที่ไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดเป็นเรื่องที่สังคมพยายามอย่างมากที่จะหาทางแก้ไขในฐานะครูในอนาคตผมคิดว่าผมจะต้องเปลี่ยนแนวคิดของเด็กในอนาคตให้เห็นให้รู้และเข้าใจสิ่งที่ควรปฏิบัติเกี่ยวกับการบริโภคและการดูแลรักษาสุขภาพ
2) ในปัจจุบันเด็กไทย(รวมถึงผู้ใหญ่ไทย) มีกีฬาประจำตัว มีปฏิทินการออกกำลังกาย และได้ออกกำลังกายตามปฏิทินอย่างจริงจัง มากน้อยเพียงใด(ทุกครั้งที่ไปโรงพยาบาล แพทย์ไทย มักจะถาม คำถามว่า “มีโรคประจำตัวอะไรบ้าง” แต่ไม่เคยถามว่า “หนู มีกีฬาประจำตัวหรือไม่ มีปฏิทินออก กำลังกายไหม)
จะถามว่าเด็กและผู้ใหญ่ไทย มี กีฬาประจำตัว มีปฏิทินการออกกำลังกาย และได้ออกกำลังกายตามปฏิทินอย่างจริงจัง คิดว่าจะมีสักกี่คนสักกี่ครอบครัวที่ทำแบบนี้ได้บ้างคงจะมีน้อยมากในสังคมไทยอาจจะมีก็เช่นผู้ป่วยที่ต้องออกกำลังกายขยับกล้ามเนื้ออยู่ทุกวันเป็นประจำเพื่อรักษาอาการป่วย ในประเด็นนี้ฟังดูน่าสนใจมากเด็กไทยควรที่จะได้ฝึกและปฏิบัติอย่างเป็นนิสัยภายใต้การนำของครูพันธ์ใหม่ในอนาคต
3) เด็กไทยมีความสามารถในการบริหารสุขภาพจิต การควบคุมอารมณ์ หรือการพัฒนาบุคลิกภาพหรือไม่ เพียงใด(ดูได้จากบรรยากาศการแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ ในทันทีที่มีการประกาศผลการแข่งขัน จะมี 1 ทีมที่ร้องให้ ควบคุมอารมณ์ไม่ได้)
การควบคุมอารมณ์หรือการพัฒนาบุคลิกภาพนั้นขึ้นอยู่กับแต่ละวัยของเด็กด้วยการที่จะปิดกั้นความรู้สึกนั้นไม่ใช่เรื่องที่ดีนักอย่างเช่น การแข่งขันที่มีทีมหนึ่งชนะและทีมหนึ่งแพ้ผู้แพ้ย่อมเสียใจเป็นธรรมดาการจะแสดงอาการเสียใจเช่นร้องให้เป็นเรื่องที่ไม่ใช่เรื่องที่ผิดมากนักเพียงแต่ว่าควรมีขอบเขตของการเสียใจด้วยไม่ฟุ้งซ่านโวยวายก็ถือว่าไม่มีอะไรเสีย หายหากวันหนึ่งเป็นได้เป็นครูสอนเด็กก็จะสอนให้เด็กมีความเข้าใจว่าการแสดงออกถึงความเสียใจนั้นเช่นการร้องให้ไม่ใช่เรื่องที่ผิดและไม่ควรปิดกั้นอารมณ์นั้นแสดงออกมาตามที่รู้สึกถือเป็นเรื่องที่ดีที่สุดแล้ว
4) ขณะนี้โรงเรียนได้ให้ความสำคัญในเรื่องสุขภาพกายและสุขภาพจิตของเด็ก พอ ๆ กับ การส่งเสริมด้านวิชาการหรือไม่ โดยเฉพาะในโรงเรียนที่ได้รับค่านิยมสูง(มีชื่อเสียง)
การให้ความสำคัญเรื่องสุขภาพกายและสุขภาพจิตของเด็กนั้นยังน้อยกว่า การส่งเสริมวิชาการโดยเฉพาะโรงเรียนที่มีชื่อเสียงมุ่งให้นักเรียนมีความรู้ความสามารถจนบางทีลืมคิดไปว่าการสงเสริมเรื่องสุขภาพกายและสุขภาพจิตของนักเรียนนั้นอาจจะยังน้อยไปหรือปล่าว หากถามว่าครูในอนาคตจะมีวิธีการแก้ไขอย่างไรผมคิดว่าควรส่งเสริมไปพร้อมๆกันไม่มีการสอนที่เคร่งเครียดมีกิจกรรมต่างๆที่จะทำให้เด็กมีความสุขสนุกและอยากเรียนอีก
5) เมื่อเปิดภาคเรียน ภายใน 2 สัปดาห์แรก ครูประจำชั้นได้ทำความรู้จักกับนักเรียนมากน้อยเพียงใด มีการจำแนกเด็กนักเรียนเป็นกลุ่มเสี่ยง-กลุ่มปกติหรือไม่ (กลุ่มเสี่ยงหมายถึง ผลการเรียนอ่อน สุขภาพไม่ดี มีปัญหาทางครอบครัว รวมถึงมีผลการเรียนดีมาก เกรดเฉลี่ย 4.00 มาโดยตลอด ซึ่งจะเสี่ยงในเรื่องความเครียด)
ในประเด็นนี้คิดว่าการที่ครูจะทำความรู้จักกับนักเรียนควรทำความรู้จักกันไปเรื่อยๆเวลาแค่ 2 สัปดาห์จะแยกคนที่มีความเสี่ยงออกมาได้ทั้งหมดนั้นคงไม่ได้ ส่วนคนที่ครูรู้และทราบประวัติเบื้องต้นถึงเด็กที่มีปัญหาแน่นอนว่าครูย่อมที่จะหาทางช่วยเหลือ หากตัวข้าพเจ้าเองได้เป็นครูจะมีแนวทางช่วยเหลือคือ คนที่มีผลการเรียนอ่อนจะจัดให้อยู่กับกลุ่มคนที่ได้ผลการเรียนดีๆ คนที่สุขภาพไม่ดีครอบครัวมีปัญหาก็จะช่วยอย่างเช่นเสนอชื่อขอรับทุนการศึกษาในโอกาสต่างๆพร้อมให้คำปรึกษาที่จะหาทางแก้ไขต่อไป ส่วนคนที่ได้ผลการเรียนดีนั้นหากจะลดความเสี่ยงเรื่องความเครียดนั้นคิดว่าควรที่จะให้ทำกิจกรรมกับเพื่อนมากๆให้คอยเป็นหูเป็นตาให้กับครูและช่วยเหลือเพื่อนอยู่เสมอ และคอยสั่งสอนว่าวันหนึ่งผลการเรียนอาจตกลงมาได้เป็นเรื่องที่ควรยอมรับไม่ต้องคิดมากทำชีวิตให้สนุกไว้ดีกว่า
6) ครูประจำชั้น หรือโรงเรียนได้จัดระบบดูแล-ช่วยเหลือเด็กกลุ่มเสี่ยงอย่างไรบ้าง เพื่อลดความเสี่ยงในชีวิต(สมัยที่ผมเป็นครูประจำชั้น ผมจะประกาศรายชื่อ “ผู้ช่วยอาจารย์ประจำชั้น” โดยเลือกจากนักเรียนกลุ่มเสี่ยง เพื่อให้นักเรียนเหล่านี้มีโอกาสทางานใกล้ชิดกับครู มีการประชุมร่วมกันสัปดาห์ละ 1 ครั้ง)
เป็นเรื่องที่จำเป็นสำหรับการดูแลช่วยเหลือเด็กและวิธีการให้เด็กนักเรียนมาช่วยงานก็เป็นวิธีที่ดีมากที่จะให้เด็กได้ใกล้ชิดกับครูหากตัวข้าพเจ้าเป็นครูก็จะนำวิธีนี้ไปปรับใช้เช่นกัน
7) โรงเรียนมีการพัฒนารายวิชา(วิชาเลือก/วิชาเพิ่มเติม) ที่เกี่ยวข้องกับ การควบคุมอารมณ์ การพัฒนาบุคลิกภาพ การบริหารจัดการกับปัญหาสุขภาพจิต ฯลฯ หรือไม่(หลักสูตรประเทศสิงค์โปร์ เด็กอนุบาล ต้องเรียนวิชา “การควบคุมอารมณ์”)
เท่าที่เห็นไม่มีความจริงจังมากนัก หากข้าพเจ้าเป็นครูจะมีรูปแบบการเรียนการสอนที่ให้นักเรียนได้ฝึกพัฒนาเช่น การให้ฝึกสมาธิก่อนการเรียนการสอน การเข้าค่ายจริยธรรม และอื่นๆ
8) โรงเรียนมีการประเมินมาตรฐานด้าน สุขภาพกาย และสุขภาพจิต เป็นระยะ ๆ อย่างจริงจังมากน้อยเพียงใด
เท่าที่เห็นที่ทราบมาการประเมินด้านสุขภาพกายและจิตใจมีความจริงจังอยู่ระดับมากพอสมควรโรงเรียนก็พยายามหาวิธีการต่างมาใช้ เช่นการออกกำลังกายตอนเช้าที่หน้าเสาธงเป็นประจำทุกวันเป็นการช่วยให้เด็กมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีตั้งแต่เช้า
9) โรงเรียนมีแบบประเมิน/แบบสังเกตภาวะสุขภาพกาย สุขภาพจิตของนักเรียน เพื่อครูประจาชั้น และ พ่อแม่ใช้ในการสังเกต-ประเมินนักเรียนในความรับผิดชอบ หรือบุตรหลานของตนเอง หรือไม่ ฯลฯ
เท่าที่เห็นยอมรับว่าไม่มีการประเมินที่เป็นแบบมาตรฐานมากนัก มีแค่ครูที่สังเกตุอยู่เช่นการให้ บอกสภาพบรรยากาศของห้องเรียนของโรงเรียนและชุมชนที่อยู่อาศัยของเด็กว่ามีสภาพอย่างไรตามความรู้สึกของเด็กหากพบว่าเด็กมีความคิดเห็นอย่างเช่นว่า ห้องเรียนไม่ค่อยน่าอยู่ก็จะช่วยกันตกแต่งใหม่ให้ดูมีบรรยากาศที่น่าเรียนยิ่งขึ้นและปลูกจิตสำนึกในการดูแลชุมชนด้วยอีกทางหนึ่ง
สรุป จากประเด็นข้างบนนี้ในเรื่องของการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตนักเรียน
การส่งเสริมเรื่องสุขภาพกาย และสุขภาพจิตของนักเรียนนั้นถือเป็นเรื่องที่สำคัญและมีความจำเป็นอย่างมากต่อการพัฒนาเด็กวันหนึ่งหากเราจบไปเป็นครูก็คิดว่าจะหาแนวทางและเทคนิคต่างๆที่มุงพัฒนาเด็กมาปรับใช้อย่างเต็มที่
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น